วันจันทร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
flower
ดอกไม้มีพลังในการฟื้นฟูและบำรุงรักษาสุขภาพและจิตใจของมนุษย์ โดยในช่วงศตวรรษที่ ๑๖ พราราเซลซัส (Paracelsus) ได้เก็บน้ำค้างจากดอกไม้เพื่อใช้รักษาจิตใจที่ไม่ปกติของคนไข้ โดยเลือกจากคุณสมบัติที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์ เช่น รูปร่าง ขนาด กลิ่น รสชาติ ตัวอย่างเช่น - ดอกอายไบรท์ (Eyebright) ซึ่งเป็นดอกไม้สีฟ้า และสีเหลืองตรงกลาง ลักษณะ คล้ายดวงตาของคน จะสามารถรักษาความเมื่อยล้าทางสายตา - ดอกเน็ทเทิล (Nettle) ช่วยให้ระบบไหลเวียนเลือดดีขึ้น- ดอกแดนดีไลออน (Dandelion) กับ ดอกเซลันดีน (celandine) มีสีเหลือง ใช้รักษา โรคดีซ่าน นอกจากนี้ชาวอะบอริจินซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของออสเตรเลีย ได้เรียนรู้ถึงคุณประโยชน์ของดอกไม้โดยการกินดอกไม้ทั้งดอก เพื่อให้สารสกัดที่อยู่ในรูปน้ำค้างที่ได้จากการสกัดของแสงอาทิตย์ ถูกกลืน เข้าไปพร้อมดอกไม้ด้วย หรือหากดอกไม้ดังกล่าวกินไม่ได้ ชาวอะบอริจินจะนั่งบนกองดอกไม้เพื่อซึมซับการรักษาจากดอกไม้ เอียน ไวท์ (Ian White) ได้เรียนรู้สรรพคุณทางยาของต้นไม้ และได้ค้นพบสารสกัดจากดอกไม้ ๖๒ ชนิดในออสเตรเลียที่สามารถ นำมาใช้รักษาสภาพจิตใจของมนุษย์ได้ นอกจากนี้ยังได้พัฒนา สารสกัดจากดอกไม้ให้สามารถนำมาใช้กับมนุษย์ได้ทันที เช่น- สารสกัดที่ใช้ในการเดินทาง เป็นสารสกัดที่ช่วยผ่อนคลายปัญหา และความไม่ สบายใจที่เกิดจากการเดินทาง- สารสกัดสำหรับสถานการณ์ฉุกเฉิน ช่วยแก้อาการตื่นเต้น และความเครียดที่เกิด จากสถานการณ์วิกฤติต่างๆ ช่วยให้รู้สึกสงบการรักษาด้วยดอกไม้ ไม่ได้รักษาที่ร่างกาย แต่เป็นการรักษาสภาวะ ความสมดุลของอารมณ์และจิตใจ
คนรักสุนัข
ประวัติของชิห์สุ
Shih Tzu เป็นสุนัขพันธุ์เล็ก มีขนสวยงามน่ารักคนที่มีโอกาสได้สัมผัสสุนัขพันธุ์นี้ มักอดใจหามาเป็นสมบัติของตัวเองไม่ได้ แม้ในประเทศที่มีเนื้อที่สร้างบ้านจำกัด ชิห์สุก็มีโอกาสเข้าไปเป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของครอบครัวเสมอ ตามคอนโด หรือ อพาร์ตเม้นท์ก็ไม่เว้น ในบ้านเราเอง ชิห์สุเป็นสุนัขพันธุ์หนึ่ง ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน และเป็นอีกพันธุ์หนึ่ง ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบันและเป็นอีกพันธุ์หนึ่งที่มีผู้ส่งเข้าประกวดมากที่สุด ในสุนัขกลุ่มทอย
บรรพบุรุษของชิห์สุ ค่อนข้างจะไม่ค่อยชัดเจนเท่าไหร่นักแต่ก็อาจเป็นไปได้ว่าชิห์สุ มีต้นกำเนิดจากทิเบต เนื่องจากตามประวัติศาสตร์ของชาวทิเบตถือว่าสิงโตเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อทางศาสนา พระชาวทิเบต (Lama)จึงได้ผสมสุนัขพันธุ์เล็กขึ้นมาให้มีลักษณะคล้ายคลึงกับสิงโต (Lion Dog) ชิห์สุ (ซึ่งแปลว่าสิงโต) จึงได้ชื่อว่าเป็นสุนัขที่เก่าแก่และตัวเล็กที่สุดในบรรดาสุนัขศักดิ์สิทธิ์ (Holy Dog) และมีลักษณะบางอย่างคล้ายกับสุนัขพันธุ์อื่นๆ ของชาวทิเบต
ชิห์สุจากจีนในยุคแรก
ชิห์สุมาถึงดินแดนตะวันตกก่อนการปฏิวัติคอมมิวนิสต์ประมาณ 25 ปี แน่นอนว่าส่วนใหญ่มักจะเป็นสุนัขที่ถูกส่งให้เป็นของขวัญจากราชสำนักจีนให้แก่ราชวงศ์หรือเจ้านายชั้นสูงในตะวันตก หรือเป็นสุนัขที่ติดสอยห้อยตามภรรยาท่านทูตจากประเทศตะวันตกที่เข้าไปประจำในประเทศจีนซึ่งมักจะเป็นของขวัญที่ได้รับจากราชสำนักจีนอีกเช่นกันหรือแม้แต่การลักลอบ นำสุนัขชิห์สุออกจากประเทศจีนเองก็มี
นางเฮนริค คอฟฟ์แมน ภรรยาท่านทูตเดนมาร์กประจำประเทศจีนนำสุนัขชิห์สุ 3 ตัวเข้าไปยังประเทศนอร์เวย์และขึ้นทะเบียนกับสมาคมคอกสุนัขแห่งนอร์เวย์ สุนัขเหล่านั้นได้แก่ เอดโซ ซึ่งเกิดที่ปักกิ่ง, ลีดซา เกิดในพระราชวังปักกิ่ง และ เชาเดอร์ เกิดที่เซี่ยงไฮ้ มีลูกสุนัขจากสายพันธู์นี้ตัวหนึ่งได้ถูกทูลถวายแก่สมเด็จพระนางเจ้าอลิซาเบธ ซึ่งขณะนั้นดำรงพระยศเป็น ดัทช์ เชสส์ ออฟ ยอร์ค พระเจ้ายอร์ชที่หกแห่งอังกฤษยังทรงกล่าวถึงหลานของสุนัขตัวนี้ว่า "เราเรียกมันว่า ชุ-ชู เพราะว่าตอนที่มาหาเราครั้งแรกนั้นมันทำเสียงเหมือนรถไฟทีเดียว" ลีดซาถือเป็นชิห์สุที่เกิดในวังเพียงตัวเดียวที่มาถึงตะวันตก บรรดาลูกหลานของมันจะมีขนสวยงามเหมือนบรรพบุรุษตัวอย่างเช่น Chumalari Ying-Ying เคยเป็นแชมป์แคนนาดา นอกจากนี้แม่ของ Ying-Ying ที่ชื่อ Tangra ก็เป็นแชมป์ในสวิทเซอร์แลนด์ เชคโกสโลวะเกีย และ แคนนาดา
เมอซิเออร์ แกรฟฟ์ เอกอัตราชทูตเบลเยี่ยม ณ กรุงปักกิ่งมีชิห์สุซึ่งมีสายเลือดจากสุนัขในวังมา 6 ตัวและเมื่อได้ไปประจำในประเทศอื่นก็มักจะนำเชื้อสายของสุนัขเหล่านี้ไปให้แก่เพื่อนหรือคนรู้จักในประเทศนั้นๆด้วย
ในช่วงสุดท้ายของราชสำนักจีนก่อนการปฏิวัตินั้น การผสมพันธุ์ชิห์สุโดยเหล่าขัณฑีนั้นทำไปตามยถากรรมเพราะ จักรพรรดิองค์ใหม่ซึ่งเป็นองค์สุดท้ายของจีนไม่ทรงโปรดสุนัข และ จำนวนขัณฑีถูกปลดออกจำนวนมากเนื่องจากเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ หลังจากจักรพรรดิทรงหนีไปเทียนสิน การผสมพันธุ์ยังคงดำเนินไปอีก 2-3 ปีก่อนที่สุนัขเหล่านี้จะถึงขั้นสูญพันธุ์ไปจากประเทศจีน แต่โชคยังดีที่มีการลักลอบและนำสุนัขชิห์สุออกไปยังประเทศแถบยุโรปบ้างพอสมควรและมีการขยายพันธุ์และส่งมอบให้แก่กันจนสุนัขชิห์สุมีอยู่ในหลายประเทศเช่น ประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวีย, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, สวิทเซอร์แลนด์, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ค
การที่เรามีสายพันธุ์ชิห์สุที่เรารู้จักกันในปัจจุบันนี้นั้น ต้องยกให้เป็นความดีของพระนางชูสีไทเฮาที่พยายามจะรักษาสายพันธุ์นี้ไว้ ซึ่งคอกสุนัขปั๊ก, ปักกิ่ง, และชิห์สุ ของพระนางฯ เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียงทั่วโลก และถึงแม้ว่าพระนางจะดูแลเอาใจใส่สุนัขในคอกเป็นอย่างดีในตลอดช่วงเวลาที่พระนางมีชีวิตอยู่ แต่ก็ยังถูกลักลอบนำออกไปโดยขันฑีในราชสำนัก (เนื่องจากมีสุนัขมากเป็นร้อยตัวและประชาชนยังไม่มีสิทธิ์ที่จะเลี้ยงเพราะผู้ที่จะเลี้ยงได้ต้องเป็นผู้ที่อยู่ในวังเท่านั้น) ซึ่งขันฑีได้แอบผสมพันธุ์ข้ามสายพันธุ์เพื่อต้องการลดขนาดของสุนัขให้เล็กลงและให้ได้มาร์คกิ้งที่ต้องการ หลังจากพระนางชูสีไทเฮาสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ.1908 สุนัขก็ค่อยๆ กระจัดกระจายหายไป การผสมพันธุ์ก็เป็นไปแบบตามอำเภอใจ แต่ก็ยังมีผู้ที่ยังคงผสมพันธุ์เพื่อรักษาสายพันธุ์ไว้อยู่ และหลังจากที่มีการปฏิวัติคอมมิวนิสต์ สุนัขในพระราชวังก็สูญพันธุ์ไปเนื่องจากมีการทำลายล้างพระราชวัง
ชิห์สุในอังกฤษ
ในยุคแรกๆที่ สุนัขชิห์สุเข้าไปอยู่ในประเทศแถบยุโรปนั้นยังไม่ได้รับการรองให้เป็นสุนัขพันธุ์แท้พันธุ์หนึ่งและมีการเรียกขานด้วยชื่อที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็น ธิเบตัน, Lion Dogs ฯลฯ นอกจากนี้ในขณะนั้น สุนัขพันธุ์ ลาซ่า แอปโซ่ ซึ่งมาจากธิเบตและมีลักษณะคล้ายชิห์สุมากได้รับการรับรองให้เป็นสุนัขพันธุ์แท้แล้ว ดังนั้น ผู้เลี้ยงสุนัขเท่าไปมักจะเข้าใจผิดคิดว่า ชิห์สุ เป็น ลาซ่า แอปโซ่
พลเอกเซอร์ดักกลาส และ เลดี้ บราวน์ริกก์ ซึ่งเคยพำนักอยู่ในประเทศจีนได้นำชิห์สุข้ามน้ำข้ามทะเลไปยังประเทศอังกฤษและมีการขยายพันธุ์จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2477 สมาคมพันธุ์สุนัขธิเบตก็ตัดสินออกมาว่าสุนัขจากจีน (ซึ่งหมายถึงชิห์สุ) เหล่านี้ไม่ใช่ ลาซ่า แอปโซ่ และมีการใช้ชื่อ "SHIH TZU" ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และมีการจัดตั้ง The Shih Tzu Tibetan Lion Dog Club ขึ้น และในปีต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น The Shih Tzu Club และในปี พ.ศ. 2483 จึงได้มีการลงมติให้จดทะเบียนแยกสุนัขชิห์สุเป็นสุนัขพันธุ์หนึ่งและสามารถเข้าแข่งขันได้
ชิห์สุในอเมริกา
ากหลักฐานของอังกฤษทำให้ทราบว่ามีชิห์สุอย่างน้อย 7 ตัวถูกส่งไปยังอเมริกาก่อนปี พ.ศ. 2495 สถานภาพของสุนัขชิห์สุในอเมริกาในช่วงนั้นค่อนข้างสับสน เนื่องจากเข้าใจผิดคิดว่าเป็นสุนัข ลาซ่า แอปโซ่จึงขึ้นทะเบียนเป็นสุนัขลาซ่า แอปโซ่ซึ่งได้รับการยอมรับแล้วหรืออาจกระทำโดยตั้งใจเพื่อให้สุนัขของตนเข้าสนามประกวดได้ รวมถึงการนำสุนัขชิห์สุไปผสมกับสุนัขลาซ่า แอปโซ่อีกด้วย ดังนั้น สมาคมผู้เลี้ยงสุนัขแห่งอเมริกา (American Kennel Club) จึงชะลอการยอมรับสุนัขพันธุ์นี้ออกไปอีก
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2498 สมาคมผู้เลี้ยงสุนัขแห่งอเมริกายอมรับสุนัขพันธุ์นี้อย่างเป็นทางการและยอมให้เข้าประกวดในรุ่นทั่วไป (Miscellaneous Class) ซึ่งสมัยนั้นจะต้องเข้าแข่งขันกับสุนัขเช่น Akita, Chinese Crested และ King Charles Spaniel โดยที่สุนัขในรุ่นนี้ไม่สามารถเก็บคะแนนและเป็นแชมป์เปี้ยนได้ รางวัลสูงสุดที่ได้รับคือ รางวัลที่หนึ่งในรุ่นเท่านั้นแต่อย่างน้อยก็ทำให้ชิห์สุได้ปรากฎแก่สายตาประชาชน และอีกไม่กี่ปีต่อมา ชิห์สุ ก็กวาดรางวัลเกือบทั้งหมดในรุ่นนี้!!!
ในปี พ.ศ. 2500 ชมรมผู้เลี้ยงสุนัขพันธุ์ชิห์สุแห่งอเมริกา (The Shih Tzu Club of America) ได้ก่อตั้งขึ้นและเป็นช่วงเดียวกันกับที่สมาคมผู้เลี้ยงสุนัขแห่งอเมริกาได้ยอมรับชิห์สุให้เข้าประกวดในฐานะสุนัขพันธุ์แท้พันธุ์หนึ่งซึ่งสามารถเป็นแชมป์เปี้ยนได้
Shih Tzu เป็นสุนัขพันธุ์เล็ก มีขนสวยงามน่ารักคนที่มีโอกาสได้สัมผัสสุนัขพันธุ์นี้ มักอดใจหามาเป็นสมบัติของตัวเองไม่ได้ แม้ในประเทศที่มีเนื้อที่สร้างบ้านจำกัด ชิห์สุก็มีโอกาสเข้าไปเป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของครอบครัวเสมอ ตามคอนโด หรือ อพาร์ตเม้นท์ก็ไม่เว้น ในบ้านเราเอง ชิห์สุเป็นสุนัขพันธุ์หนึ่ง ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน และเป็นอีกพันธุ์หนึ่ง ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบันและเป็นอีกพันธุ์หนึ่งที่มีผู้ส่งเข้าประกวดมากที่สุด ในสุนัขกลุ่มทอย
บรรพบุรุษของชิห์สุ ค่อนข้างจะไม่ค่อยชัดเจนเท่าไหร่นักแต่ก็อาจเป็นไปได้ว่าชิห์สุ มีต้นกำเนิดจากทิเบต เนื่องจากตามประวัติศาสตร์ของชาวทิเบตถือว่าสิงโตเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อทางศาสนา พระชาวทิเบต (Lama)จึงได้ผสมสุนัขพันธุ์เล็กขึ้นมาให้มีลักษณะคล้ายคลึงกับสิงโต (Lion Dog) ชิห์สุ (ซึ่งแปลว่าสิงโต) จึงได้ชื่อว่าเป็นสุนัขที่เก่าแก่และตัวเล็กที่สุดในบรรดาสุนัขศักดิ์สิทธิ์ (Holy Dog) และมีลักษณะบางอย่างคล้ายกับสุนัขพันธุ์อื่นๆ ของชาวทิเบต
ชิห์สุจากจีนในยุคแรก
ชิห์สุมาถึงดินแดนตะวันตกก่อนการปฏิวัติคอมมิวนิสต์ประมาณ 25 ปี แน่นอนว่าส่วนใหญ่มักจะเป็นสุนัขที่ถูกส่งให้เป็นของขวัญจากราชสำนักจีนให้แก่ราชวงศ์หรือเจ้านายชั้นสูงในตะวันตก หรือเป็นสุนัขที่ติดสอยห้อยตามภรรยาท่านทูตจากประเทศตะวันตกที่เข้าไปประจำในประเทศจีนซึ่งมักจะเป็นของขวัญที่ได้รับจากราชสำนักจีนอีกเช่นกันหรือแม้แต่การลักลอบ นำสุนัขชิห์สุออกจากประเทศจีนเองก็มี
นางเฮนริค คอฟฟ์แมน ภรรยาท่านทูตเดนมาร์กประจำประเทศจีนนำสุนัขชิห์สุ 3 ตัวเข้าไปยังประเทศนอร์เวย์และขึ้นทะเบียนกับสมาคมคอกสุนัขแห่งนอร์เวย์ สุนัขเหล่านั้นได้แก่ เอดโซ ซึ่งเกิดที่ปักกิ่ง, ลีดซา เกิดในพระราชวังปักกิ่ง และ เชาเดอร์ เกิดที่เซี่ยงไฮ้ มีลูกสุนัขจากสายพันธู์นี้ตัวหนึ่งได้ถูกทูลถวายแก่สมเด็จพระนางเจ้าอลิซาเบธ ซึ่งขณะนั้นดำรงพระยศเป็น ดัทช์ เชสส์ ออฟ ยอร์ค พระเจ้ายอร์ชที่หกแห่งอังกฤษยังทรงกล่าวถึงหลานของสุนัขตัวนี้ว่า "เราเรียกมันว่า ชุ-ชู เพราะว่าตอนที่มาหาเราครั้งแรกนั้นมันทำเสียงเหมือนรถไฟทีเดียว" ลีดซาถือเป็นชิห์สุที่เกิดในวังเพียงตัวเดียวที่มาถึงตะวันตก บรรดาลูกหลานของมันจะมีขนสวยงามเหมือนบรรพบุรุษตัวอย่างเช่น Chumalari Ying-Ying เคยเป็นแชมป์แคนนาดา นอกจากนี้แม่ของ Ying-Ying ที่ชื่อ Tangra ก็เป็นแชมป์ในสวิทเซอร์แลนด์ เชคโกสโลวะเกีย และ แคนนาดา
เมอซิเออร์ แกรฟฟ์ เอกอัตราชทูตเบลเยี่ยม ณ กรุงปักกิ่งมีชิห์สุซึ่งมีสายเลือดจากสุนัขในวังมา 6 ตัวและเมื่อได้ไปประจำในประเทศอื่นก็มักจะนำเชื้อสายของสุนัขเหล่านี้ไปให้แก่เพื่อนหรือคนรู้จักในประเทศนั้นๆด้วย
ในช่วงสุดท้ายของราชสำนักจีนก่อนการปฏิวัตินั้น การผสมพันธุ์ชิห์สุโดยเหล่าขัณฑีนั้นทำไปตามยถากรรมเพราะ จักรพรรดิองค์ใหม่ซึ่งเป็นองค์สุดท้ายของจีนไม่ทรงโปรดสุนัข และ จำนวนขัณฑีถูกปลดออกจำนวนมากเนื่องจากเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ หลังจากจักรพรรดิทรงหนีไปเทียนสิน การผสมพันธุ์ยังคงดำเนินไปอีก 2-3 ปีก่อนที่สุนัขเหล่านี้จะถึงขั้นสูญพันธุ์ไปจากประเทศจีน แต่โชคยังดีที่มีการลักลอบและนำสุนัขชิห์สุออกไปยังประเทศแถบยุโรปบ้างพอสมควรและมีการขยายพันธุ์และส่งมอบให้แก่กันจนสุนัขชิห์สุมีอยู่ในหลายประเทศเช่น ประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวีย, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, สวิทเซอร์แลนด์, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ค
การที่เรามีสายพันธุ์ชิห์สุที่เรารู้จักกันในปัจจุบันนี้นั้น ต้องยกให้เป็นความดีของพระนางชูสีไทเฮาที่พยายามจะรักษาสายพันธุ์นี้ไว้ ซึ่งคอกสุนัขปั๊ก, ปักกิ่ง, และชิห์สุ ของพระนางฯ เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียงทั่วโลก และถึงแม้ว่าพระนางจะดูแลเอาใจใส่สุนัขในคอกเป็นอย่างดีในตลอดช่วงเวลาที่พระนางมีชีวิตอยู่ แต่ก็ยังถูกลักลอบนำออกไปโดยขันฑีในราชสำนัก (เนื่องจากมีสุนัขมากเป็นร้อยตัวและประชาชนยังไม่มีสิทธิ์ที่จะเลี้ยงเพราะผู้ที่จะเลี้ยงได้ต้องเป็นผู้ที่อยู่ในวังเท่านั้น) ซึ่งขันฑีได้แอบผสมพันธุ์ข้ามสายพันธุ์เพื่อต้องการลดขนาดของสุนัขให้เล็กลงและให้ได้มาร์คกิ้งที่ต้องการ หลังจากพระนางชูสีไทเฮาสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ.1908 สุนัขก็ค่อยๆ กระจัดกระจายหายไป การผสมพันธุ์ก็เป็นไปแบบตามอำเภอใจ แต่ก็ยังมีผู้ที่ยังคงผสมพันธุ์เพื่อรักษาสายพันธุ์ไว้อยู่ และหลังจากที่มีการปฏิวัติคอมมิวนิสต์ สุนัขในพระราชวังก็สูญพันธุ์ไปเนื่องจากมีการทำลายล้างพระราชวัง
ชิห์สุในอังกฤษ
ในยุคแรกๆที่ สุนัขชิห์สุเข้าไปอยู่ในประเทศแถบยุโรปนั้นยังไม่ได้รับการรองให้เป็นสุนัขพันธุ์แท้พันธุ์หนึ่งและมีการเรียกขานด้วยชื่อที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็น ธิเบตัน, Lion Dogs ฯลฯ นอกจากนี้ในขณะนั้น สุนัขพันธุ์ ลาซ่า แอปโซ่ ซึ่งมาจากธิเบตและมีลักษณะคล้ายชิห์สุมากได้รับการรับรองให้เป็นสุนัขพันธุ์แท้แล้ว ดังนั้น ผู้เลี้ยงสุนัขเท่าไปมักจะเข้าใจผิดคิดว่า ชิห์สุ เป็น ลาซ่า แอปโซ่
พลเอกเซอร์ดักกลาส และ เลดี้ บราวน์ริกก์ ซึ่งเคยพำนักอยู่ในประเทศจีนได้นำชิห์สุข้ามน้ำข้ามทะเลไปยังประเทศอังกฤษและมีการขยายพันธุ์จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2477 สมาคมพันธุ์สุนัขธิเบตก็ตัดสินออกมาว่าสุนัขจากจีน (ซึ่งหมายถึงชิห์สุ) เหล่านี้ไม่ใช่ ลาซ่า แอปโซ่ และมีการใช้ชื่อ "SHIH TZU" ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และมีการจัดตั้ง The Shih Tzu Tibetan Lion Dog Club ขึ้น และในปีต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น The Shih Tzu Club และในปี พ.ศ. 2483 จึงได้มีการลงมติให้จดทะเบียนแยกสุนัขชิห์สุเป็นสุนัขพันธุ์หนึ่งและสามารถเข้าแข่งขันได้
ชิห์สุในอเมริกา
ากหลักฐานของอังกฤษทำให้ทราบว่ามีชิห์สุอย่างน้อย 7 ตัวถูกส่งไปยังอเมริกาก่อนปี พ.ศ. 2495 สถานภาพของสุนัขชิห์สุในอเมริกาในช่วงนั้นค่อนข้างสับสน เนื่องจากเข้าใจผิดคิดว่าเป็นสุนัข ลาซ่า แอปโซ่จึงขึ้นทะเบียนเป็นสุนัขลาซ่า แอปโซ่ซึ่งได้รับการยอมรับแล้วหรืออาจกระทำโดยตั้งใจเพื่อให้สุนัขของตนเข้าสนามประกวดได้ รวมถึงการนำสุนัขชิห์สุไปผสมกับสุนัขลาซ่า แอปโซ่อีกด้วย ดังนั้น สมาคมผู้เลี้ยงสุนัขแห่งอเมริกา (American Kennel Club) จึงชะลอการยอมรับสุนัขพันธุ์นี้ออกไปอีก
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2498 สมาคมผู้เลี้ยงสุนัขแห่งอเมริกายอมรับสุนัขพันธุ์นี้อย่างเป็นทางการและยอมให้เข้าประกวดในรุ่นทั่วไป (Miscellaneous Class) ซึ่งสมัยนั้นจะต้องเข้าแข่งขันกับสุนัขเช่น Akita, Chinese Crested และ King Charles Spaniel โดยที่สุนัขในรุ่นนี้ไม่สามารถเก็บคะแนนและเป็นแชมป์เปี้ยนได้ รางวัลสูงสุดที่ได้รับคือ รางวัลที่หนึ่งในรุ่นเท่านั้นแต่อย่างน้อยก็ทำให้ชิห์สุได้ปรากฎแก่สายตาประชาชน และอีกไม่กี่ปีต่อมา ชิห์สุ ก็กวาดรางวัลเกือบทั้งหมดในรุ่นนี้!!!
ในปี พ.ศ. 2500 ชมรมผู้เลี้ยงสุนัขพันธุ์ชิห์สุแห่งอเมริกา (The Shih Tzu Club of America) ได้ก่อตั้งขึ้นและเป็นช่วงเดียวกันกับที่สมาคมผู้เลี้ยงสุนัขแห่งอเมริกาได้ยอมรับชิห์สุให้เข้าประกวดในฐานะสุนัขพันธุ์แท้พันธุ์หนึ่งซึ่งสามารถเป็นแชมป์เปี้ยนได้
วันอาทิตย์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
ไปเที่ยวเกาะช้างกัไหม http://sawasd.page.tl/Tour-of-Thailand.htm
Name variation Mu Ko ChangEnglish translation Elephant Island ArchipelagoNumber of islands/isles 52 Total land area 650 sq. km.The 3 largest islandsKoh Chang: 154.8 sq. km. (Thailand’s second largest island)Koh Kood: 129 sq. km. (Fourth largest island in Thailand)Koh Maak: 16 sq. km.Koh Chang land dimension Length: 30 km. Width: 14 km.Population 5,356 inhabitants (as of 2005) Population density 34.6 inhabitants per sq. km.Province TratZip code 23170Area code 039Distance from Bangkok 310-330 km.Distance from Trat 8 km.Highest peak 744 m (Khao Jom Peasat, Salak Phet)Administration 2 sub districts, 9 villages TemperatureMonthly Average Range: 34 C (April) - 22 C (January)Annual Average: 27.3 CAverage High: 31.3 CAverage Low: 23.2 CClimate Hot and humidAnnual average rainfall amount 3,200 mmElectricity 220V 50HzHistory- Before World War II, Koh Chang was little known and piracy was still prolific around the archipelago. - Koh Chang was the scene of a sea battle between the Thai and the French naval ships in 1941. - Backpackers discovered the charms of the archipelago in the mid 70’s.- The district was given national park status on the 31st of December 1982.- It was only in 2000 that electricity and landline phones were available.- It is the 45th of the 102 national parks in Thailand.- Rapid developments began in 2002.Location Southeastern region of Thailand, near the border to Cambodia in the Gulf of Thailand
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง
ชื่อ หมู่เกาะช้างชื่อภาษาอังกฤษ Elephant Island Archipelagoจำนวนเกาะ 52 เกาะ พื้นที่ทั้งหมด 650 ตร.กม.3 เกาะขนาดใหญ่ของหมู่เกาะช้าง ดังนี้เกาะช้าง: 154.8 ตร.กม. (มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศไทย)เกาะกูด: 129 ตร.กม. (มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ของประเทศไทย)เกาะหมาก: 16 ตร.กม.ขนาดพื้นที่เกาะช้างความยาว: 30 กม. ความกว้าง: 14 กม.จำนวนประชากร 5,356 คน (ปี พ.ศ. 2549) เฉลี่ยพื้นที่อาศัย 34.6 คน/ตร.กม.จังหวัด ตราดรหัสไปรษณีย์ 23170รหัสโทรศัพท์พื้นที่์ 039ระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ 310-330 กม.ระยะทางห่างจากตัวเมืองตราด 8 กม.จุดสูงสุด 744 เมตร (เกาะKhao Jom Peasat, สลักเพชร)การบริหาร 2 กิ่งอำเภอ, 9 หมู่บ้านภูมิอากาศอุณหภูมิโดยเฉลี่ย: 34 องศาเซลเซียส (เม.ย.) - 22 องศาเซลเซียส (ม.ค.)อุณหภูมิโดยเฉลี่ยตลอดปี: 27.3 องศาเซลเซียสอุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงสุด: 31.3 องศาเซลเซียสอุณหภูมิโดยเฉลี่ยต่ำสุด: 23.2 องศาเซลเซียสสภาพอากาศ ร้อนและอบอ้าว (ร้อนชื้น)จำนวนน้ำฝน ปริมาณ 3,200 mmกระแสไฟฟ้า 220V 50Hzประวัติ- ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เกาะช้างยังไม่เป็นที่รู้จักและพื้นที่บนเกาะรกร้างว่างเปล่า- เกาะช้างมีเหตุการณ์สำคัญคือ สงครามป้องกันดินแดนระหว่างเรือไทยกับเรือฝรั่งเศส ในปี 2484- นักท้องเที่ยวค้นพบมนเสน่ห์ของหมู่เกาะในกลางยุค 70- ตั้งให้เป็นอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง วันที่ 31 ธ.ค. 2525- ในปี 254 มีเพียงไฟฟ้าและโทรศัพท์พื้นที่- อยู่ในอันดับที่ 45 จาก 102 แห่งของอุทยานแห่งชาติของประเทศไทย- พัฒนาอย่างรวดเร็วในปี 2545สถานที่ตั้ง เกาะช้างตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศไทย ฝั่งอ่าวไทย และติดกับประเทศกัมพูชาละติจูด 12 6’13” N ลองติจูด 102 21’7” E
ชื่อ หมู่เกาะช้างชื่อภาษาอังกฤษ Elephant Island Archipelagoจำนวนเกาะ 52 เกาะ พื้นที่ทั้งหมด 650 ตร.กม.3 เกาะขนาดใหญ่ของหมู่เกาะช้าง ดังนี้เกาะช้าง: 154.8 ตร.กม. (มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศไทย)เกาะกูด: 129 ตร.กม. (มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ของประเทศไทย)เกาะหมาก: 16 ตร.กม.ขนาดพื้นที่เกาะช้างความยาว: 30 กม. ความกว้าง: 14 กม.จำนวนประชากร 5,356 คน (ปี พ.ศ. 2549) เฉลี่ยพื้นที่อาศัย 34.6 คน/ตร.กม.จังหวัด ตราดรหัสไปรษณีย์ 23170รหัสโทรศัพท์พื้นที่์ 039ระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ 310-330 กม.ระยะทางห่างจากตัวเมืองตราด 8 กม.จุดสูงสุด 744 เมตร (เกาะKhao Jom Peasat, สลักเพชร)การบริหาร 2 กิ่งอำเภอ, 9 หมู่บ้านภูมิอากาศอุณหภูมิโดยเฉลี่ย: 34 องศาเซลเซียส (เม.ย.) - 22 องศาเซลเซียส (ม.ค.)อุณหภูมิโดยเฉลี่ยตลอดปี: 27.3 องศาเซลเซียสอุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงสุด: 31.3 องศาเซลเซียสอุณหภูมิโดยเฉลี่ยต่ำสุด: 23.2 องศาเซลเซียสสภาพอากาศ ร้อนและอบอ้าว (ร้อนชื้น)จำนวนน้ำฝน ปริมาณ 3,200 mmกระแสไฟฟ้า 220V 50Hzประวัติ- ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เกาะช้างยังไม่เป็นที่รู้จักและพื้นที่บนเกาะรกร้างว่างเปล่า- เกาะช้างมีเหตุการณ์สำคัญคือ สงครามป้องกันดินแดนระหว่างเรือไทยกับเรือฝรั่งเศส ในปี 2484- นักท้องเที่ยวค้นพบมนเสน่ห์ของหมู่เกาะในกลางยุค 70- ตั้งให้เป็นอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง วันที่ 31 ธ.ค. 2525- ในปี 254 มีเพียงไฟฟ้าและโทรศัพท์พื้นที่- อยู่ในอันดับที่ 45 จาก 102 แห่งของอุทยานแห่งชาติของประเทศไทย- พัฒนาอย่างรวดเร็วในปี 2545สถานที่ตั้ง เกาะช้างตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศไทย ฝั่งอ่าวไทย และติดกับประเทศกัมพูชาละติจูด 12 6’13” N ลองติจูด 102 21’7” E
วันพุธที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
คนเก่งวิชาคอมฯ 17 พ.ค.2553
เขียนบล็อกกับ blogger.com
สวัสดีครับนักเรียนครับ
เรามาเริ่มเขียนบล็อกกับ blogger.com กันนะครับ
ก่อนอื่นนักเรียนต้องมี e-mail ของ googl mail หรือ gmail ก่อนครับสมัครได้ที่ http://www.google.co.th เมนู Gmail
1. พิมพ์ e-mail และรหัสผ่าน
2. คลิกที่ สร้างบล็อก
3. จากนั้นก็สามารถสร้างตามต้องการ...ครับ
....แค่นี้นักเรียนก็มีบล็อกแล้ว..ครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)